วรรณยุกต์ภาษาเวียดนาม


วรรณยุกต์ภาษาเวียดนาม มี ระดับดังต่อไปนี้

  1.  Ngang (งาง) เป็นวรรณยุกต์ที่ไม่มีเครื่องหมายกำกับ เสียงสูงไม่เปลี่ยนระดับ คล้ายเสียงสามัญแต่สูงกว่า ซึ่งไม่มีในภาษาในภาษาไทย ถ้าเทียบกับภาษาไทย คือ เสียงสามัญ
  2. Huyền   (ฮเหวี่ยน)   ใช้เครื่องหมายกำกับ คือ เป็นเสียงต่ำ ไม่เปลี่ยนระดับ  คล้ายเสียงเอก ในภาษาไทย
  3. Ngã  (หงา)  ใช้เครื่องหมายกำกับ  ˜ เสียงกำกับ เป็นเสียงสูง แบบขึ้นและตอนกลางกักที่เส้นเสียง ออกเสียงคล้าย 2 จังหวะโดยหยุดหลังจังหวะแรกเล็กน้อย ซึ่งไม่มีในภาษาไทย ในการทับศัพท์ จึงเลือกใช้เสียงคล้าย 2 จังหวะ แรกเล็กน้อยซึ่งไม่มีในภาษาไทย ในการทับศัพท์จึงเลือกใช้เสียงจัตวา
  4. Hỏi (หอย)  ใช้เครื่องหมายกำกับ    ̉เสียงต่ำ ขึ้น คล้ายเสียงจัตวา ซึ่งไม่มีในภาษาไทย  ในการทับศัพท์จึงเลือกใช้เสียงจัตวา
  5. Sắc (ซัก )  ใช้เครื่่องหมายกำกับ ´เสียงสูงขึ้น คล้ายเสียงตรี ซึ่งไม่มีในภาษาไทย ในการทับศัพท์จึงเลือกใช้เสียงตรี
  6. Năng  (หนั่ง) ใช้เครื่่องหมายกำกับ. เสียงต่ำ ตกตอนท้ายกักที่เส้นเสียง คล้ายเสียงเอก แต่เสียงหนักกว่า และหยุดทันทีในตอนท้าย ซึ่งไม่มีในภาษาไทย ในการทับศัพท์จึงเลือกใช้เสียงเอกและให้ใช้สระเสียงสั้น





Comments